Sunday, November 26, 2006
Deadline Approaching!
The deadline for submission of abstracts for the Eighth Asian Bioethics Conference is fast approaching. Please note that the deadline is November 30.
Friday, November 17, 2006
Podcast พันดารา
กลุ่มสนทนาพระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ มูลนิธิพันดารา ได้จัดทำ เว็บไซต์ ใหม่ขึ้น เพื่อนำเสนอ podcast ที่รวมไฟล์เสียงที่อัดจากการบรรยายต่างๆของกลุ่มฯ ครั้งแรกนี้เป็นการบรรยายเรื่อง "Dharmodynamics" ของ ดร. วุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์ สถาบันสหสวรรษ
Human security focused on biomedical ethics
Announcement
THE TAMILNADU DR AMBEDKAR LAW UNIVERSITY, Department of Constitutional Law and Human Rights, PG Departments of Law headed by Prof. Dr. Manohar and the Centre for Security Analysis will set up an International Roundtable on the 29th of November 2006 in the Seminar Hall of the Centre, Egmore Chennai, time 3 pm.
The title of the round table: Human security focused on biomedical ethics. Several different topics will be discussed e.g. status of an embryo, stem cell research.
Invited participants from Europe: Prof. Dr. Dr. Cosimo Marco Mazzoni (Italy), Dr. Dr. Brigitte Jansen (Germany), confirmed.
From India: Dr. Michael Aruldas, Dr. Jayaraman Dr. Aruna Sivagami from University of Madras
Professors and scientists from Medical University; Dr. Geetha Madhavan and other members of CSA from the sponsoring organisation.;Hon. Dr. SSP. Darwesh, Vice Chancellor, Law University being the guest of Honour.
Also the interesting public is invited to participate free of charge. The space is limited. If you want to participate, please be so kind to send your request with your name, position and your working field to profmanohar@yahoo.com.
THE TAMILNADU DR AMBEDKAR LAW UNIVERSITY, Department of Constitutional Law and Human Rights, PG Departments of Law headed by Prof. Dr. Manohar and the Centre for Security Analysis will set up an International Roundtable on the 29th of November 2006 in the Seminar Hall of the Centre, Egmore Chennai, time 3 pm.
The title of the round table: Human security focused on biomedical ethics. Several different topics will be discussed e.g. status of an embryo, stem cell research.
Invited participants from Europe: Prof. Dr. Dr. Cosimo Marco Mazzoni (Italy), Dr. Dr. Brigitte Jansen (Germany), confirmed.
From India: Dr. Michael Aruldas, Dr. Jayaraman Dr. Aruna Sivagami from University of Madras
Professors and scientists from Medical University; Dr. Geetha Madhavan and other members of CSA from the sponsoring organisation.;Hon. Dr. SSP. Darwesh, Vice Chancellor, Law University being the guest of Honour.
Also the interesting public is invited to participate free of charge. The space is limited. If you want to participate, please be so kind to send your request with your name, position and your working field to profmanohar@yahoo.com.
Friday, November 10, 2006
ข่าวจากวิทยาลัยสาธารณสุข จุฬาฯ
เรียน รศ. ดร. โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์
ดิฉันเป็นผู้ประสานงานโครงการจัดสัมมนา เรื่อง เสรีการค้ากับสุขภาพ: มุมมองสาธารณสุข (Trade and Health: The Public Health View Point โดย ดร. วไลกัญญา พลาศรัย เป็นผู้บริหารโครงการนี้ ในนามของวิทยาลัยการสาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดร. วไลกัญญา พลาศรัย ขอความอนุเคราะห์จากท่านช่วยประชาสัมพันธ์ การจัดสัมมนาเรื่อง เสรีการค้ากับสุขภาพ: มุมมองสาธารณสุข (Trade and Health: The Public Health View Point) ระหว่างวันที่ 11 – 13 ธันวาคม 2549 ณ ห้อง 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การสัมมนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาทราบถึงความก้าวหน้าและทันต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน รวมถึงเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวกับการค้าเสรีกับระบบบริการสุขภาพและสาธารณสุข ซึ่งผู้เข้าร่วมสัมมนาสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปพัฒนาองค์กรต่อไป
การนี้ วิทยาลัยฯ ใคร่ขอความอนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์การสัมมนาดังกล่าว โดยมีรายละเอียดระบุในเอกสารแผ่นพับประชาสัมพันธ์ดังแนบมาด้วย
หากท่านสนใจหรือต้องการรายละเอียดเพิ่มเติ่ม กรุณาติดต่อสอบถามได้ที่ นางสาวดาวนภา เมธาธีระนันท์ โทร. 02-218-8194 และสามารถ download ใบสมัครได้ที่ www.cph.chula.ac.th
ดิฉันเป็นผู้ประสานงานโครงการจัดสัมมนา เรื่อง เสรีการค้ากับสุขภาพ: มุมมองสาธารณสุข (Trade and Health: The Public Health View Point โดย ดร. วไลกัญญา พลาศรัย เป็นผู้บริหารโครงการนี้ ในนามของวิทยาลัยการสาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดร. วไลกัญญา พลาศรัย ขอความอนุเคราะห์จากท่านช่วยประชาสัมพันธ์ การจัดสัมมนาเรื่อง เสรีการค้ากับสุขภาพ: มุมมองสาธารณสุข (Trade and Health: The Public Health View Point) ระหว่างวันที่ 11 – 13 ธันวาคม 2549 ณ ห้อง 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การสัมมนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาทราบถึงความก้าวหน้าและทันต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน รวมถึงเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวกับการค้าเสรีกับระบบบริการสุขภาพและสาธารณสุข ซึ่งผู้เข้าร่วมสัมมนาสามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปพัฒนาองค์กรต่อไป
การนี้ วิทยาลัยฯ ใคร่ขอความอนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์การสัมมนาดังกล่าว โดยมีรายละเอียดระบุในเอกสารแผ่นพับประชาสัมพันธ์ดังแนบมาด้วย
หากท่านสนใจหรือต้องการรายละเอียดเพิ่มเติ่ม กรุณาติดต่อสอบถามได้ที่ นางสาวดาวนภา เมธาธีระนันท์ โทร. 02-218-8194 และสามารถ download ใบสมัครได้ที่ www.cph.chula.ac.th
Wednesday, November 08, 2006
Deadline Extended!
The deadline for submission of the 3rd Asia-Pacific Computing and Philosophy conference at University of Philippines, Diliman, the Philippines has been extended. Abstracts are being called in all areas of computing and philosophy, and the new deadline is December 15, 2006. Please see the website for more information.
Tuesday, November 07, 2006
การฝึกสมาธิถึงพระอวโลกิเตศวร
มูลนิธิพันดารา
ขอเชิญผู้สนใจเข้าอบรมกรรมฐาน
“การฝึกสมาธิถึงพระอวโลกิเตศวรและการบ่มเพาะความกรุณาในชีวิตประจำวัน”
(Lecture and Meditation on Chenrezig and How to Cultivate Compassion in Everyday Life)
ผู้อบรม: กุงกา ซังโบ ริมโปเช (Ven. Kunga Sangbo Rinpoche)
(เจ้าอาวาส วัดเจคุนโด ทิเบตตะวันออก และวัดต้าชี่กง นครลาซา ภูมิภาคปกครองตนเองของทิเบต)
อบรมเป็นภาษาทิเบต แปลเป็นภาษาไทยและสรุปความเป็นภาษาอังกฤษ
วันอาทิตย์ที่ 10 ธันวาคม 2549
เวลา 9.00-16.00 น.
ไร่รักธรรมะ-ชาติ
ถนนหัวหิน-ป่าละอู ต. หนองพลับ อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์
ค่าลงทะเบียน 100 บาท (มีอาหารมังสวิรัติและอาหารว่างแบบง่ายๆบริการ)
สำรองที่นั่งที่ อารีรัตน์ ศิริคุณ โทร. 081-6481195 Email: areeratana@cpbequity.co.th หรือ
กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ โทรสาร 02-5285308 Email: krisadawan@thousand-stars.org
พระอวโลกิเตศวรทรงเป็นพระมหาโพธิสัตว์แห่งความกรุณา ทรงเป็นที่เคารพบูชาของพุทธศาสนิกชนทั้งในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะในทิเบตและจีน คนไทยรู้จักพระองค์ด้วยพระนาม “พระโพธิสัตว์กวนอิม” ซึ่งเราได้รับมาจากพระพุทธศาสนามหายานจากฝ่ายจีน คนทิเบตขนานนามพระองค์ว่า “เชนเรซี” พระผู้ทอดพระเนตรสัตว์ทั้งหลายไปทั่วทุกทิศด้วยความกรุณา ธารณีหกพยางค์ของพระองค์ “โอม มณี ปัทเม หูม” หรือออกเสียงภาษาทิเบตว่า “โอม มานี เปเม ฮุง” เป็นธารณีที่ติดปากชาวทิเบตทุกคนไม่ว่าพวกเขาจะเป็นใคร ธารณีนี้ให้อานิสงส์มหาศาลหากผู้สวดมีศรัทธาต่อพระองค์อย่างแน่วแน่และมีความกรุณาต่อสรรพสัตว์อย่างจริงใจ
ในยุคสมัยที่มนุษย์เข่นฆ่ากัน เบียดเบียนสัตว์เดรัจฉานแม้แต่สัตว์เล็กๆ เช่น มด แมลง ด้วยความเห็นแก่ตัว ริษยาหรือมีโทสะต่อกันจนไปถึงขั้นทำลายล้าง ไม่มีอะไรสำคัญไปกว่าการบ่มเพาะความกรุณา ด้วยเล็งเห็นความสำคัญของความกรุณาเช่นนี้ มูลนิธิพันดาราจึงได้จัดอบรมกรรมฐานนี้เพื่อให้คนไทยได้รู้วิธีนั่งสมาธิถึงพระอวโลกิเตศวร รู้วิธีบ่มเพาะความกรุณาในชีวิตประจำวันไม่ว่าจะทำการงานสิ่งใด หลังการอบรม พระอาจารย์กุงกา ซังโบ ริมโปเชจะประกอบพิธีมนตราภิเษกพระอวโลกิเตศวร เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับพรและได้รับอนุญาตอย่างเป็นทางการในการปฏิบัติบูชาพระองค์เพื่อประโยชน์ของสรรพสัตว์
มูลนิธิจะจัดงานนี้ที่สถานที่แห่งหนึ่งซึ่งมีความสงบเงียบเหมาะแก่การปฏิบัติธรรม เป็นสถานที่เต็มไปด้วยความงดงามของธรรมชาติและมีดอกไม้บานสะพรั่งเพื่อเยียวยาความเหนื่อยล้าของจิตที่หมกมุ่นกับการทำงานและการดำรงชีวิตทางโลก สถานที่นี้ชื่อว่า “ไร่รักธรรมะ-ชาติ” ซึ่งอยู่ตรงข้ามถนนกับ “ภัทรกัลป์ตาราขทิรวัณ” ป่าขทิระแห่งพระแม่ตาราในกัลป์อันประเสริฐ อันเป็นสถานปฏิบัติธรรมของมูลนิธิพันดารา สถานปฏิบัติธรรมนี้กำลังอยู่ในระหว่างการก่อสร้างและการหาทุนทรัพย์ รายละเอียดและกิจกรรมอื่นๆของมูลนิธิ อ่านได้จาก http://www.thousand-stars.org/
หมายเหตุ
- โปรดนำเบาะนั่งสมาธิมาด้วย
- ทางมูลนิธิไม่สามารถให้บริการรถเดินทางได้ ใคร่ขอให้ผู้สนใจหารถมาเอง หากใครพักค้างคืนที่หัวหิน มีรถสองแถวจากตลาดหัวหินมาป่าละอู ใช้เวลาเดินทางประมาณ 40 นาทีจะถึงไร่รักธรรมะ-ชาติ เมื่อลงจากรถแล้ว เดินเข้าไปตามทางประมาณ 500 เมตร
ขอเชิญผู้สนใจเข้าอบรมกรรมฐาน
“การฝึกสมาธิถึงพระอวโลกิเตศวรและการบ่มเพาะความกรุณาในชีวิตประจำวัน”
(Lecture and Meditation on Chenrezig and How to Cultivate Compassion in Everyday Life)
ผู้อบรม: กุงกา ซังโบ ริมโปเช (Ven. Kunga Sangbo Rinpoche)
(เจ้าอาวาส วัดเจคุนโด ทิเบตตะวันออก และวัดต้าชี่กง นครลาซา ภูมิภาคปกครองตนเองของทิเบต)
อบรมเป็นภาษาทิเบต แปลเป็นภาษาไทยและสรุปความเป็นภาษาอังกฤษ
วันอาทิตย์ที่ 10 ธันวาคม 2549
เวลา 9.00-16.00 น.
ไร่รักธรรมะ-ชาติ
ถนนหัวหิน-ป่าละอู ต. หนองพลับ อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์
ค่าลงทะเบียน 100 บาท (มีอาหารมังสวิรัติและอาหารว่างแบบง่ายๆบริการ)
สำรองที่นั่งที่ อารีรัตน์ ศิริคุณ โทร. 081-6481195 Email: areeratana@cpbequity.co.th หรือ
กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ โทรสาร 02-5285308 Email: krisadawan@thousand-stars.org
พระอวโลกิเตศวรทรงเป็นพระมหาโพธิสัตว์แห่งความกรุณา ทรงเป็นที่เคารพบูชาของพุทธศาสนิกชนทั้งในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะในทิเบตและจีน คนไทยรู้จักพระองค์ด้วยพระนาม “พระโพธิสัตว์กวนอิม” ซึ่งเราได้รับมาจากพระพุทธศาสนามหายานจากฝ่ายจีน คนทิเบตขนานนามพระองค์ว่า “เชนเรซี” พระผู้ทอดพระเนตรสัตว์ทั้งหลายไปทั่วทุกทิศด้วยความกรุณา ธารณีหกพยางค์ของพระองค์ “โอม มณี ปัทเม หูม” หรือออกเสียงภาษาทิเบตว่า “โอม มานี เปเม ฮุง” เป็นธารณีที่ติดปากชาวทิเบตทุกคนไม่ว่าพวกเขาจะเป็นใคร ธารณีนี้ให้อานิสงส์มหาศาลหากผู้สวดมีศรัทธาต่อพระองค์อย่างแน่วแน่และมีความกรุณาต่อสรรพสัตว์อย่างจริงใจ
ในยุคสมัยที่มนุษย์เข่นฆ่ากัน เบียดเบียนสัตว์เดรัจฉานแม้แต่สัตว์เล็กๆ เช่น มด แมลง ด้วยความเห็นแก่ตัว ริษยาหรือมีโทสะต่อกันจนไปถึงขั้นทำลายล้าง ไม่มีอะไรสำคัญไปกว่าการบ่มเพาะความกรุณา ด้วยเล็งเห็นความสำคัญของความกรุณาเช่นนี้ มูลนิธิพันดาราจึงได้จัดอบรมกรรมฐานนี้เพื่อให้คนไทยได้รู้วิธีนั่งสมาธิถึงพระอวโลกิเตศวร รู้วิธีบ่มเพาะความกรุณาในชีวิตประจำวันไม่ว่าจะทำการงานสิ่งใด หลังการอบรม พระอาจารย์กุงกา ซังโบ ริมโปเชจะประกอบพิธีมนตราภิเษกพระอวโลกิเตศวร เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับพรและได้รับอนุญาตอย่างเป็นทางการในการปฏิบัติบูชาพระองค์เพื่อประโยชน์ของสรรพสัตว์
มูลนิธิจะจัดงานนี้ที่สถานที่แห่งหนึ่งซึ่งมีความสงบเงียบเหมาะแก่การปฏิบัติธรรม เป็นสถานที่เต็มไปด้วยความงดงามของธรรมชาติและมีดอกไม้บานสะพรั่งเพื่อเยียวยาความเหนื่อยล้าของจิตที่หมกมุ่นกับการทำงานและการดำรงชีวิตทางโลก สถานที่นี้ชื่อว่า “ไร่รักธรรมะ-ชาติ” ซึ่งอยู่ตรงข้ามถนนกับ “ภัทรกัลป์ตาราขทิรวัณ” ป่าขทิระแห่งพระแม่ตาราในกัลป์อันประเสริฐ อันเป็นสถานปฏิบัติธรรมของมูลนิธิพันดารา สถานปฏิบัติธรรมนี้กำลังอยู่ในระหว่างการก่อสร้างและการหาทุนทรัพย์ รายละเอียดและกิจกรรมอื่นๆของมูลนิธิ อ่านได้จาก http://www.thousand-stars.org/
หมายเหตุ
- โปรดนำเบาะนั่งสมาธิมาด้วย
- ทางมูลนิธิไม่สามารถให้บริการรถเดินทางได้ ใคร่ขอให้ผู้สนใจหารถมาเอง หากใครพักค้างคืนที่หัวหิน มีรถสองแถวจากตลาดหัวหินมาป่าละอู ใช้เวลาเดินทางประมาณ 40 นาทีจะถึงไร่รักธรรมะ-ชาติ เมื่อลงจากรถแล้ว เดินเข้าไปตามทางประมาณ 500 เมตร
การประชุม "กายกับใจ"
การประชุมนานาชาติเรื่อง “กายกับใจ: มุมมองจากวิทยาศาสตร์กับจิตวิญญาณ” (Body and Mind: Science and Spirituality Perspectives) ระหว่างวันที่ 6-8 ธันวาคม 2549 ระหว่างเวลา 9.00 - 17.00 น. ณ ห้อง 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การประชุมครั้งนี้นับเป็นการประชุมในหัวข้อดังกล่าวครั้งแรกของประเทศไทย ผู้ที่มูลนิธิเชิญให้มาเป็นองค์ปาฐกล้วนแต่เป็นนักวิชาการที่มีชื่อเสียง หลายคนเป็นพระอาจารย์ที่เป็นที่เคารพนับถือในสายการปฏิบัติธรรมของท่าน ในการประชุมดังกล่าว มูลนิธิยังได้รับเกียรติจาก Dr. William Grassie อดีตผู้อำนวยการสถาบัน Metanexus ในสหรัฐอเมริกามาบรรยายเรื่องการประสานกันของความเป็นสมัยใหม่กับจิตวิญญาณอันเป็นมุมมองสำคัญยิ่งในโลกปัจจุบัน มุมมองนี้วางรากฐานให้เราใช้ชีวิตในสังคมสมัยใหม่ได้อย่างมั่นคง ด้วยหัวใจอ่อนโยน ด้วยความรักธรรมชาติและจิตใจเอื้อเฟื้อต่อกัน
การประชุมกายกับใจนี้เป็นก้าวหัวใจของมูลนิธิในการนำองค์ความรู้ของมนุษยชาติมาเผยแพร่ในประเทศไทย หัวข้อของบทความที่จะนำเสนอมีหลากหลาย อาทิ การนั่งสมาธิกับสมอง บทบาทของการนั่งสมาธิกับการรักษาโรค ความฉลาดทางจิตวิญญาณ (spiritual intelligence) จิตวิญญาณกับการศึกษา หลากหลายแง่มุมของโยคะ ปรัชญาพุทธกับความเป็นผู้นำ ธรรมพลศาสตร์ การบำบัดโรคมะเร็งด้วยจิต และอื่นๆ นอกจากประเด็นทางศาสนาพุทธ (ทั้งเถรวาทและมหายาน) การประชุมจะเสนอมุมมองของศาสนาและประเพณีทางจิตวิญญาณแบบอื่นด้วย
จุดเด่นของงาน
- การสวดมนตร์เพื่อสันติภาพตอนเริ่มและปิดงาน
- การเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์กับจิตวิญญาณ
- การนั่งสมาธิกับกระบวนการทางสมอง
- ดนตรีเพื่อการบำบัด
- พุทธศาสนา ทั้งเถรวาทและมหายาน (วัชรยาน) จากหลากหลายแง่มุม
- โยคะ ตอบคำถามว่าโยคะรักษาโรคได้อย่างไร
- การนำสมาธิมาแก้ปัญหาของคนอ้วน (ไม่สามารถหยุดกินได้)
- "ความฉลาดทางจิตวิญญาณ" และการนำจิตวิญญาณมาใช้ในแวดวงการศึกษา
- การบำบัดด้วยจิต เอดส์กับพุทธศาสนา จิตวิญญาณกับเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางทางจิตวิญญาณแบบต่างๆในการประสานระหว่างกายกับใจ
การประชุมครั้งนี้นับเป็นการประชุมในหัวข้อดังกล่าวครั้งแรกของประเทศไทย ผู้ที่มูลนิธิเชิญให้มาเป็นองค์ปาฐกล้วนแต่เป็นนักวิชาการที่มีชื่อเสียง หลายคนเป็นพระอาจารย์ที่เป็นที่เคารพนับถือในสายการปฏิบัติธรรมของท่าน ในการประชุมดังกล่าว มูลนิธิยังได้รับเกียรติจาก Dr. William Grassie อดีตผู้อำนวยการสถาบัน Metanexus ในสหรัฐอเมริกามาบรรยายเรื่องการประสานกันของความเป็นสมัยใหม่กับจิตวิญญาณอันเป็นมุมมองสำคัญยิ่งในโลกปัจจุบัน มุมมองนี้วางรากฐานให้เราใช้ชีวิตในสังคมสมัยใหม่ได้อย่างมั่นคง ด้วยหัวใจอ่อนโยน ด้วยความรักธรรมชาติและจิตใจเอื้อเฟื้อต่อกัน
การประชุมกายกับใจนี้เป็นก้าวหัวใจของมูลนิธิในการนำองค์ความรู้ของมนุษยชาติมาเผยแพร่ในประเทศไทย หัวข้อของบทความที่จะนำเสนอมีหลากหลาย อาทิ การนั่งสมาธิกับสมอง บทบาทของการนั่งสมาธิกับการรักษาโรค ความฉลาดทางจิตวิญญาณ (spiritual intelligence) จิตวิญญาณกับการศึกษา หลากหลายแง่มุมของโยคะ ปรัชญาพุทธกับความเป็นผู้นำ ธรรมพลศาสตร์ การบำบัดโรคมะเร็งด้วยจิต และอื่นๆ นอกจากประเด็นทางศาสนาพุทธ (ทั้งเถรวาทและมหายาน) การประชุมจะเสนอมุมมองของศาสนาและประเพณีทางจิตวิญญาณแบบอื่นด้วย
จุดเด่นของงาน
- การสวดมนตร์เพื่อสันติภาพตอนเริ่มและปิดงาน
- การเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์กับจิตวิญญาณ
- การนั่งสมาธิกับกระบวนการทางสมอง
- ดนตรีเพื่อการบำบัด
- พุทธศาสนา ทั้งเถรวาทและมหายาน (วัชรยาน) จากหลากหลายแง่มุม
- โยคะ ตอบคำถามว่าโยคะรักษาโรคได้อย่างไร
- การนำสมาธิมาแก้ปัญหาของคนอ้วน (ไม่สามารถหยุดกินได้)
- "ความฉลาดทางจิตวิญญาณ" และการนำจิตวิญญาณมาใช้ในแวดวงการศึกษา
- การบำบัดด้วยจิต เอดส์กับพุทธศาสนา จิตวิญญาณกับเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางทางจิตวิญญาณแบบต่างๆในการประสานระหว่างกายกับใจ
Friday, November 03, 2006
Public Talk by Charles Ess
The Center for Information Policy Research, School of Information Studies, University of Wisconsin-Milwaukee, is pleased to announce Dr. Charles Ess, Distinguished Research Professor of Interdisciplinary Studies, Drury University will lecture on “An Impending Global ICE Age?: East-West Perspectives on Information and Computer Ethics,” as part of his 2006-07 CIPR Information Ethics Fellowship.
A prominent philosopher and information ethics scholar, Dr. Ess is Co-chair, CATaC conferences, Vice-President, Association of Internet Researchers, and Professor II, Globalization and Applied Ethics Programmes, Norwegian University of Science and Technology. He has published extensively in the areas of History of Philosophy, Ethics, Culture, Technology, Computer-Mediated Communication, and Online research ethics.
Dr. Ess was selected as a CIPR Information Ethics Fellow to honor his prestigious contributions to the field of information and computer ethics, and in particular, his work on East-West perspectives on ethics.
While in residence at the CIPR, Dr. Ess will also lecture to SOIS graduate students on different cultural values and communicative preferences and their impact on effective web design. Dr. Ess’s work will be highlighted in the CIPR Occasional Papers, available at http://www.uwm.edu/Dept/SOIS/cipr/research_papers.html
Please join us Monday, November 13, 2006, 11:30, Bolton Hall, 521, University of Wisconsin Milwaukee campus. The lecture is also available via live video stream at http://www.uwm.edu/Dept/SOIS/cipr/index.html
A prominent philosopher and information ethics scholar, Dr. Ess is Co-chair, CATaC conferences, Vice-President, Association of Internet Researchers, and Professor II, Globalization and Applied Ethics Programmes, Norwegian University of Science and Technology. He has published extensively in the areas of History of Philosophy, Ethics, Culture, Technology, Computer-Mediated Communication, and Online research ethics.
Dr. Ess was selected as a CIPR Information Ethics Fellow to honor his prestigious contributions to the field of information and computer ethics, and in particular, his work on East-West perspectives on ethics.
While in residence at the CIPR, Dr. Ess will also lecture to SOIS graduate students on different cultural values and communicative preferences and their impact on effective web design. Dr. Ess’s work will be highlighted in the CIPR Occasional Papers, available at http://www.uwm.edu/Dept/SOIS/cipr/research_papers.html
Please join us Monday, November 13, 2006, 11:30, Bolton Hall, 521, University of Wisconsin Milwaukee campus. The lecture is also available via live video stream at http://www.uwm.edu/Dept/SOIS/cipr/index.html
Thursday, November 02, 2006
Bon and Dzogchen: Towards Enlightened Mind from the Tibetan Perspective
The Thousand Stars Foundation
and the Center for Ethics of Science and Technology, Chulalongkorn University
cordially invite the members of the public to a special lecture on
“Bon and Dzogchen: Towards Enlightened Mind from the Tibetan Perspective”
by
Latri Geshe Nyima Dakpa Rinpoche
(Menri Monastery in northern India, the Mother Monastery of Bon
and the founder of Bon Children’s Home)
Wednesday, December 6, 2006
Room 105, Maha Chulalongkorn Bldg., Chulalongkorn University
Dzogchen is Tibetan for ‘Great Perfection.’ The term refers to a teaching that enables one to realize Buddhahood which is a quality that is inherent in the minds of humans and other sentient beings. Although the teaching originated in Tibet and has been transmitted continuously there, it is universal and is above labeling and differentiation. The teaching’s essence lies in the emphasis for the practitioner to become aware of the present moment at all times. Dzogcehn has been disseminated both by Bon and Nyingma practitioners of Buddhism in Tibet.
Program
16.30 - 17.00 Reception
17.00 - 17.10 Opening Speech
17.10 - 19.00 Lecture on “Bon and Dzogchen: Towards Enlightened Mind from the Tibetan Perspective” (in English)
This lecture is part of the international conference on “Body and Mind: Science and Spirituality Perspectives”, which is supported by the Local Societies Initiative, Metanexus Institute. The event is free of charge and participants are invited to the reception. Interested persons should contact Dr. Krisadawan Hongladarom at krisadawan@thousand-stars.org, or fax 02 218 4695 to reserve their seats.
http://www.thousand-stars.org/
Wednesday, November 01, 2006
What is 'Dharmodynamics'?
DHARMODYNAMICS
The Fusion of Modern Science and Eastern Religions
by Vuthipong Preabjariyavat
The search for the ‘ultimate reality’ seems to have been the epitome of intellectual and spiritual pursuit of humankind since time immemorial. So far, those who embark on such a journey generally have to choose between the two roads: scientific or metaphysical. Dharmodynamics is an attempt to merge these traditionally two separate paths into one.
On the one hand, it retells and explains some of the most fascinating scientific concepts from a metaphysical perspective based on four major eastern religions, namely Hinduism, Buddhism, Jainism, and Taoism. The topics discussed are wide-ranging and include, for example, the big bang, the big crunch, the cosmos, black holes, quarks, the Theory of Everything, thermodynamics, entropy, DNA, chromosomes, life, evolution, Darwinism and the human mind.
Conversely, several main religious and metaphysical concepts --ranging from soul, heaven, hell, ghosts, demons, angels, karma, the karmic law, reincarnation, samsara (cycle of rebirth), nirvana, tao, moksha, dharma (nature) and the dharmic law-- are reformulated using scientific conceptual framework.
This unique effort to stitch patches of scientific knowledge with eastern religious concepts and metaphysics into seamless whole, resulting in an integrated body of knowledge which encompasses and transcends science as we now know it, is how 'dharmodynamics' is defined.
The Fusion of Modern Science and Eastern Religions
by Vuthipong Preabjariyavat
The search for the ‘ultimate reality’ seems to have been the epitome of intellectual and spiritual pursuit of humankind since time immemorial. So far, those who embark on such a journey generally have to choose between the two roads: scientific or metaphysical. Dharmodynamics is an attempt to merge these traditionally two separate paths into one.
On the one hand, it retells and explains some of the most fascinating scientific concepts from a metaphysical perspective based on four major eastern religions, namely Hinduism, Buddhism, Jainism, and Taoism. The topics discussed are wide-ranging and include, for example, the big bang, the big crunch, the cosmos, black holes, quarks, the Theory of Everything, thermodynamics, entropy, DNA, chromosomes, life, evolution, Darwinism and the human mind.
Conversely, several main religious and metaphysical concepts --ranging from soul, heaven, hell, ghosts, demons, angels, karma, the karmic law, reincarnation, samsara (cycle of rebirth), nirvana, tao, moksha, dharma (nature) and the dharmic law-- are reformulated using scientific conceptual framework.
This unique effort to stitch patches of scientific knowledge with eastern religious concepts and metaphysics into seamless whole, resulting in an integrated body of knowledge which encompasses and transcends science as we now know it, is how 'dharmodynamics' is defined.
Subscribe to:
Posts (Atom)